บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวกับดอกไม้น่ารู้...คู่สุขภาพดี
“ดอกไม้มีพิษ” ซ่อนอันตรายภายใต้ความงาม
อโรม่าเธอราพี – การบำบัดด้วยกลิ่น อยู่ใกล้ตัวกว่าที่คิด
สำหรับดอกพิกุลนั้น ถือเป็นดอกไม้ในวรรณคดี โดยคนสมัยก่อนนิยมปลูกต้นพิกุลไว้ในบ้าน ด้วยเชื่อว่าจะทำให้อายุยืน เพราะต้นพิกุลมีความคงทนแข็งแรงและมีอายุยืนยาว ขณะเดียวกัน ชาดอกพิกุลยังมีสรรพคุณมากมาย อาทิ ช่วยให้ผ่อนคลาย บำรุงหัวใจและเลือด แก้ร้อนใน เจ็บคอ อ่อนเพลีย หรือจิบแก้กระหายน้ำ เรียกว่า จิบดี มีแต่ประโยชน์
ทำความรู้จักกับ “ชาดอกไม้” ชาสมุนไพรสกัดจากดอกไม้ บำรุงสุขภาพ
อุดมไปด้วยสารฟลาโวนอยด์มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระที่ดี
เที่ยวภาคใต้ในวันธรรมดาก็สนุกได้ไม่มีเบื่อ
ตลาดกลางคืนถือเป็นความงามทางวัฒนธรรมของประเทศไทยได้อีกอย่างหนึ่ง โดยทั่วไปเฉพาะภูเก็ต มีตลาดกลางคืนหลายแห่งในภูเก็ต แต่ที่โดดเด่นที่สุดคือ ตลาดนัดสุดสัปดาห์ที่ภูเก็ต ซึ่งใหญ่เป็นอันดับสองบนเกาะ คุณสามารถเลือกซื้อสินค้ามีเอกลักษณ์ราคาถูก เพลิดเพลินกับอาหารท้องถิ่น หรือเข้าร่วมกิจกรรมความบันเทิงกลางแจ้งที่น่าตื่นเต้นได้อย่างอิสระ
คุณแม่ทราบไหมว่า…ท้องกี่เดือนจึงจะสามารถขึ้นเครื่องบินได้?
สุขภาพเด็กวัยเตาะแตะและข้อควรระวัง
ชาดอกไม้ กระแสที่กำลังมาแรงที่สุดตอนนี้ในบรรดาเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ คงหนีไม่พ้น “ชาดอกไม้” ซึ่งเป็นชาที่ได้จากดอกไม้นานาชนิด ซึ่งประวัติการดื่มชาดอกไม้ก็มีมาอย่างยาวนานนับพันปี ชาดอกไม้ อาทิเช่น ชาดอกกุหลาบ ชาดอกมะลิ หรือชาดอกอัญชัน ที่มีความนิยมมากในตอนนี้ นอกจากความสวยงามของสีและกลิ่นของชาดอกไม้เหลานี้แล้วชาดอกไม้ยังมีสรรพคุณของดอกไม้ที่นำมาทำเป็นชาที่มีส่วยช่วยในด้านต่างๆของร่างกาย นอกจากชาชนิดต่างๆแล้ว ยังมีชาที่นำใบชามาผสมกับดอกไม้หรือผลไม้ เพื่อเพิ่มความหอมหรือรสชาติแปลกใหม่ให้กับชาด้วย นับว่าเป็นชาทางเลือกใหม่สำหรับคนรักชาและยังเป็นชาที่น่าลิ้มลอง ได้รับความนิยมสำหรับคนที่รักการดื่มชาด้วย ตัวอย่างชาที่ค่อนข้างได้รับความนิยมอยู่มากในปัจจุบัน ลองไปดูกันดีกว่าว่าดอกไม้ชนิดใดบ้างที่นำมาเป็นชาได้และมีสรรพคุณช่วยในเรื่องใดบ้าง
บันทึกชื่อ, อีเมล และชื่อเว็บไซต์ของฉันบนเบราว์เซอร์นี้ สำหรับการแสดงความเห็นครั้งถัดไป
สูตรปรนนิบัติผิวเสีย...ให้กลับมาขาวใสหลังสงกรานต์
ช่วยในการปรับสมดุลฮอร์โมน ลดความเครียด ชาดอกไม้ ยี่ห้อไหนดี ลดอาการปวดท้อง ช่วยระบาย เป็นชาที่นำใบชามาผสมกับดอกมะลิ โดยใบชานั้นจะซึมซับความหอมของดอกมะลิ ใบชาที่ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นชาเขียว บางครั้งก็จะใช้ชาแดงต้าหงเป๋า หรือ ชาจินจวิ้นเหมย ซึ่งเป็นชาที่เหมาะแก่การนำมาเป็นส่วนผสมของชาดอกไม้